กรอบทิศทางประเด็นยุทธศาสตร์การวิจัย (Strategic Research Areas – SRA) คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์

กรอบทิศทางประเด็นยุทธศาสตร์การวิจัย
(Strategic Research Areas – SRA)
ประเด็นหลัก (Theme) และประเด็นวิจัย (Issues) / กลุ่มหัวข้อวิจัย
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ในคราวประชุมเพื่อหาแนวทางการจัดตั้งศูนย์วิจัยเฉพาะทาง
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
วันที่ 21 มิถุนายน 2554

แก้ไข เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2554

รหัส
กรอบทิศทางประเด็นยุทธศาสตร์การวิจัย (SRA)
รหัส
ประเด็นหลัก (Theme)
ประเด็นวิจัย (Issues) / กลุ่มหัวข้อวิจัย
SRA3 พลังงานและพลังงานทดแทน T3.1 พลังงานชีวภาพ 3.1.1 การจัดการพลังงานภายในอาคาร
T3.2 พลังงานธรรมชาติ 3.2.1 วัสดุเพื่อการประหยัดพลังงาน
T3.3 พลังงานชนิดใหม่ 3.3.1 การออกแบบผลิตภัณฑ์เพื่อการประหยัดพลังงาน
T3.4 สภาพแวดล้อมเพื่อการประหยัดพลังงานและลดสภาวะโลกร้อน
SRA4 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม T4.1 การจัดการทรัพยากรน้ำ และการบริหารจัดการลุ่มน้ำ 4.1.1 การใช้ประโยชน์ที่ดินและทรัพยากรน้ำ
4.1.2 การวางแผนทรัพยากรน้ำในเมือง
4.1.3 การวางแผนการใช้ที่ดินในระดับพื้นที่ลุ่มน้ำ
T4.3 การจัดการทรัพยากรป่าไม้ ระบบนิเวศ และความหลากหลายทางชีวภาพ 4.3.1 การจัดการพื้นที่สีเขียวในเมือง
4.3.2 ระบบนิเวศเมืองกับการวางแผนเมืองอย่างยั่งยืน
4.3.3 การทำการเกษตรในเมือง (Urban Agriculture)
T4.4 การจัดการขยะ ของเสีย มลพิษ และการนำกลับมาใช้ใหม่ 4.4.1 การออกแบบผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Product)
4.4.2 วัสดุก่อสร้างทางเลือก
4.4.3 การวางแผนเมืองสีเขียว (Green City)
4.4.4 การจัดการของเสียในเมืองและชุมชน
4.4.5 การจัดการขยะในระดับท้องถิ่น
T4.5 การจัดการสภาพแวดล้อมเมืองและการจราจร 4.5.1 การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการสภาพแวดล้อมเมือง
4.5.2 รูปแบบเมืองที่มีผลต่อการเดินและการใช้จักรยานของคนในชุมชน
4.5.3 การจัดการปัญหาการพัฒนาเมืองแบบกระจัดกระจาย (Urban Sprawl)
4.5.4. การจัดการระบบขนส่งมวลชนโดยองค์กรท้องถิ่น
4.5.5 สภาพแวดล้อมเมืองกับคุณภาพชีวิตของประชากรในเมือง
SRA6 การพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น T6.1 การเสริมสร้างความเข้มแข็งของกลุ่ม เครือข่าย และองค์กรชุมชน 6.1.1 การพัฒนาเครือข่ายกลุ่มอาชีพนวัตกรรม
T6.2 การเสริมสร้างประสิทธิภาพในการดำเนินงานขององค์กรบริหารส่วนท้องถิ่น 6.2.1 การเสริมสร้างประสิทธิภาพขององค์กรบริหารส่วนท้องถิ่นในการออกแบบวางผังชุมชนและเมือง
6.2.2 การเสริมสร้างประสิทธิภาพขององค์กรบริหารส่วนท้องถิ่นในการจัดการสภาพแวดล้อมเมือง
T6.3 การสร้างความเป็นธรรมในชุมชนและสังคม 6.3.1 การเข้าถึงสาธารณูปโภคและสาธารณูปการของคนด้อยโอกาสในเมือง
T6.5 การวิจัยเกี่ยวกับความยากจน 6.5.1 การจัดการสภาพแวดล้อมสำหรับคนจน เมือง และชนบท
T6.6 สังคมผู้สูงอายุและผู้ด้อยโอกาส 6.6.1 การออกแบบเพื่อผู้สูงอายุและผู้ด้อยโอกาส
6.6.2 สภาพแวดล้อมและคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ
T6.7 การสร้างองค์ความรู้ด้านสภาพแวดล้อม และศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น 6.7.1 การสร้างอัตลักษณ์ของเมืองจากศิลปวัฒนธรรมของท้องถิ่น
SRA7 ระบบ Logistic การขนส่งและการท่องเที่ยว T7.3 การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ เชิงนวัตกรรม และเชิงเกษตร 7.3.1 เส้นทางการท่องเที่ยว
T7.4 การวิจัยและพัฒนาบริการสนับสนุนการท่องเที่ยวและสินค้าที่เชื่อมโยงกับการท่องเที่ยว 7.4.1 สื่อประชาสัมพันธ์ที่เชื่อมโยงกับการท่องเที่ยว
7.4.2 การออกแบบองที่ระลึกของการท่องเที่ยว
7.4.3 การประยุกต์อัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมเพื่อการท่องเที่ยว
T7.5 การสร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับแหล่งท่องเที่ยว
T7.6 การอนุรักษ์และพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
SRA9 การพัฒนาเศรษฐกิจท้องถิ่น T9.1 การพัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจชุมชนและกลุ่มเครือข่ายเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน 9.1.1 การถ่ายทอดองค์ความรู้ทางการออกแบบผลิตภัณฑ์และกระบวนการผลิต
T9.2 การพัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็งของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม 9.2.1 การออกแบบเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
T9.3 การคิดค้นและพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 9.3.1 การออกแบบและพัฒนางานหัตถกรรมหรือผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น
T9.4 การสร้างองค์ความรู้และต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์เชิงพาณิชย์และสาธารณะ 9.4.1 ฐานข้อมูลหัตถกรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น
T9.5 มาตรฐานผลิตภัณฑ์และสินค้าท้องถิ่น 9.5.1 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และสินค้าท้องถิ่นเพื่อยกระดับให้ได้มาตรฐานสากล
SRA11 ศิลปวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ T11.1 การวิจัยและออกแบบโดยประยุกต์ศิลปวัฒนธรรม 11.1.1 การออกแบบผลิตภัณฑ์ร่วมสมัยโดยประยุกต์จากศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น
11.1.2 ศึกษาเปรียบเทียบและเชื่อมโยงข้อมูลศิลปวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ร่วมกับประเทศแถบลุ่มน้ำโขง